Page 10 - 866_2NEW.indd
P. 10

4

ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตาม
ยุทธศาสตร์ชาตปิ ระกอบดว้ ย

      (1) ความอยดู่ ีมสี ุขของคนไทยและสังคมไทย
      (2) ขดี ความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
      (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
      (4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม
      (5) คว ามหลากหลายทางชีว ภาพ คุณภ าพสิ่งแวดล้อม และคว ามยั่งยืนของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
      (6) ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการให้บริการของภาครฐั

       การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติจะมุ่งเน้นการสร้ างสมดุลระหว่าง
การพัฒนาความมน่ั คง เศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม โดยการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นในรูปแบบ
“ประชารฐั ” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังน้ี

      (1) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นความม่นั คง
      (2) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
      (3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
      (4) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
      (5) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม
      (6) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ

      เปำ้ หมำยและประเด็นกำรพฒั นำยุทธศำสตร์
      (1) ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย
เอกราชอธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนา
คน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม
และภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ด้านความม่ันคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ
ท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพ่ือนบ้านและ
มิตรประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพ่ือเอื้ออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านอ่นื ๆ ให้สามารถขบั เคลอ่ื นไปได้ตามทิศทางและเป้าหมายท่ีกาหนด
      (2) ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา
ที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่
(1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต
และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ
ในด้านอ่ืน ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของ

                                                        แผนปฏบิ ัติราชการ สพม.36 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15