Page 8 - 866_2NEW.indd
P. 8

8

และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท
หน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าท่ีในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน
มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์
ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามา
ประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะ เปิดกว้าง
เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม
ความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ
อย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้นกฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจาเป็น มีความทันสมัย มีความ
เป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหล่ือมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ
ยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยุติธรรม
ตามหลักนิตธิ รรม

3. แผนแมบ่ ทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ
      แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนที่จัดทาไว้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์

ชาติ โดยมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ันรวมทั้งการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
มี 23 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ความมั่นคง 2) การต่างประเทศ 3) การพัฒนาการเกษตร
4) อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ
7) โครงสร้างพ้ืนฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และ
ขนาดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
11) กำรพฒั นำศักยภำพคนตลอดช่วงชีวติ 12) กำรพัฒนำกำรเรียนรู้ 13) การสร้างใหค้ นไทยมีสุข
ภาวะทด่ี ี 14) ศกั ยภาพการกฬี า 15) พลังทางสงั คม 16) เศรษฐกจิ ฐานราก 17) ความเสมอภาคและ
หลักประกันทางสังคม 18) การเติบโตอย่างยั่งยืน 19) การบริหารจัดการน้าท่ังระบบ
20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ 21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
22) กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม และ 23) การวิจัยและพฒั นานวตั กรรม

4. แผนกำรปฏิรูปประเทศ
      แผนการปฏิรูปประเทศ จัดทาขึ้นเพื่อกาหนดกลไก วิธีการ และข้ันตอนการปฏิรูปประเทศใน

ด้านตา่ ง ๆ ตอ้ งดาเนินการเพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมายตามทีบ่ ัญญตั ิไว้ในรฐั ธรรมนูญ โดยต้องสอดคล้องและ
เป็นไปทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศประกอบด้วย 12 ด้าน ด้านที่ 12
ด้านการศึกษา โดยแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษามีแผนงานเพ่ือการปฏิรูป 7 เรื่อง ได้แก่
1) ระบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศโดยพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่
และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง 2) การพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 3) การลดการเหลื่อมล้าทาง

                                               รายงานผลการดาเนินงาน รอบ 6 เดือนประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13